วิธีการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเทคนิค
/วิธีการสอนทักษะ
/พฤติกรรมที่มุ่งเน้นบทบาทผู้เรียน
1) กระบวนการสืบค้น(Inquiry Process)
- การศึกษาค้นคว้า- การเรียนรู้กระบวนการ
- การตัดสินใจ
- ความคิดสร้างสรรค์ศึกษาค้นคว้า เพื่อสืบค้นข้อความรู้ด้วยตนเอง
2) การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning)
- การสังเกต การสืบค้น
- การให้เหตุผล การอ้างอิง
- การสร้างสมมติฐานศึกษา ค้นพบข้อความรู้และขั้นตอนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
3) การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
- การศึกษาค้นคว้า
- การวิเคราะห์ สังเคราะห์ประเมินค้าข้อมูล
- การลงข้อสรุป- การแก้ปัญหาศึกษา แก้ปัญหาอย่างเป็นกระบวนการและฝึกทักษะการเรียนรู้ที่สำคัญด้วยตนเอง
4) การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
- การคิด
- การจัดระบบความคิดจัดระบบความคิดของตนให้ชัดเจน เห็นความสัมพันธ์
5) การตั้งคำถาม (Questioning)
- กระบวนการคิด
- การตีความ
- การไตร่ตรอง
- การถ่ายทอดความคิด ความเข้าใจเรียนรู้จากคิดเพื่อสร้างข้อคำถามและคำตอบด้วยตนเอง
6) การศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
- การศึกษาค้นคว้าข้อความรู้
- การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- ความรับผิดชอบเรียนรู้อย่างเป็นอิสระด้วยตนเอง
7) การจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)ประกอบด้วย
- ศูนย์การเรียน
- ชุดการสอน
- บทเรียนสำเร็จรูป
- คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
- e-learning
- การตอบคำถาม
- การแก้ปัญหา
- การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- การเรียนรู้ที่ต้องการผลการเรียนรู้ทันที
- การเรียนรู้ตามลำดับขั้นเรียนรู้ด้วยตนเองตามระดับความรู้ความสามารถของตน มีการแก้ไขฝึกซ้ำเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและความเชี่ยวชาญ
8) การอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
- การแสดงความคิดเห็น
- การวิเคราะห์
- การตีความ
- การสื่อความหมาย
- ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- การสรุปความมีอิสระในการแสดงความคิดเห็น มีบทบาทมีส่วนร่วมในการสร้างข้อความรู้
9) การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
- กระบวนการกลุ่ม
- การวางแผน-
การแก้ปัญหา
- การตัดสินใจ
- ความคิดระดับสูง
- ความคิดสร้างสรรค์
- การแก้ไขข้อขัดแย้ง
- การสื่อสา
ร- การประเมินผลงาน
- การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้รับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองในฐานะผู้นำกลุ่มหรือสมาชิกกลุ่มทั้งในบทบาทการทำงานและบทบาทเกี่ยวกับการรวมกลุ่ม ในการสร้างข้อความรู้หรือผลงานกลุ่ม
- 9.1 เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)- การค้นคว้าหาคำตอบ- การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรับผิดชอบการเรียนร่วมกับเพื่อน
- 9.2 เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)- การมีส่วนร่วม- การแสดงความคิดเห็น- ความคิดสร้างสรรค์- การแก้ปัญหาแสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลายในเวลาอันรวดเร็ว
- 9.3 เทคนิค Buzzing- การค้นคว้าหาคำตอบด้วยเวลาจำกัดแสดงความคิดเห็นเพื่อหาข้อสรุปในเวลาอันจำกัด
- 9.4 การอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar- การสื่อสาร- การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น- การสรุปข้อความรู้รับฟังข้อมูลความคิดเห็นเพื่อหาข้อสรุปในเวลาอันจำกัด
- 9.5 กลุ่มติว- การฝึกซ้ำ- การสื่อสารทบทวนจากกลุ่มหรือเพื่อหรือเรียนเพิ่มเติม
10) การฝึกปฏิบัติการ
- การค้นคว้าหาความรู้
- การรวบรวมข้อมูล
- การแก้ปัญหาศึกษาค้นคว้าข้อความรู้ในลักษณะกลุ่มปฏิบัติการ
11) เกม (Games)
- การคิดวิเคราะห์
- การตัดสินใจ
- การแก้ปัญหาได้เล่มเกมด้วยตนเองภายใต้กฎหรือกติกาที่กำหนด ได้คิดวิเคราะห์พฤติกรรมและเกิดความสนุกสนานในการเรียน
12) กรณีศึกษา (Case Studies)
- การค้นคว้าหาความรู้
- การอภิปราย
- การวิเคราะห์
- การแก้ปัญหาได้ฝึกคิดวิเคราะห์อภิปรายเพื่อสร้างความเข้าใจแล้วตัดสินใจเลือกแนวทางแก้ปัญหา
13) สถานการณ์จำลอง (Simulation)
- การแสดงความคิดเห็น
- ความรู้สึก
- การวิเคราะห์ได้ทดลองแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ในสถานการณ์ที่จำลองใกล้เคียงสถานการณ์จริง
14) ละคร (Dramatization)
- ความรับผิดชอบในบทบาท
- การทำงานร่วมกัน
- การวิเคราะห์ได้ทดลองแสดงบทบาทตามที่กำหนดเกิดประสบการณ์เข้าใจความรู้สึก เหตุผล และพฤติกรรมผู้อื่น
15) บทบาทสมมติ
- มนุษยสัมพันธ์
- การแก้ปัญหา
- การวิเคราะห์ได้ลองสวมบทบาทต่าง ๆ และศึกษาวิเคราะห์ความรู้สึกและพฤติกรรมตน
16) การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) ประกอบด้วยเทคนิค JIGSAW, JIGSAW II, TGT, STAD,LT,GI, NHT, Co-op Co-op
- กระบวนการกลุ่ม
- การสื่อสาร
- ความรับผิดชอบร่วมกัน
- ทักษะทางสังคม
- การแก้ปัญหา
- การคิดแบบหลากหลาย
- การสร้างบรรยากาศการทำงานร่วมกันได้เรียนรู้บทบาทสมาชิก กลุ่มมีบทบาทหน้าที่ รู้จักการไว้วางใจให้เกียรติและรับผังความคิดเห็นของเพื่อนสมาชิกกลุ่ม และรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนและเพื่อน ๆ ในกลุ่ม
17) การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม(Participatory Learning)
- การนำเสนอความคิดประสบการณ์
- การสื่อสารและปฏิสัมพันธ์
- กระบวนการกลุ่มมีส่วนร่วมในการอภิปรายแสดงความคิดเห็นหรือปฏิบัติจนได้ข้อสรุป
18) การเรียนการสอนแบบ บูรณาการ แบบ Shoreline Method
- การค้นคว้าหาความรู้
- การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
- ทักษะทางสังคม
- กระบวนการกลุ่ม
- การสื่อสาร
- การแก้ปัญหามีส่วนร่วมในการเรียนทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและการคิด ดำเนินการเรียนด้วยตนเองทั้งในห้องเรียนและสถานการณ์จริง ศึกษา ปฏิบัติด้วยตนเองทุกเรื่อง ร่วมแรงร่วมใจด้วยความเต็มใจ
วันพฤหัสบดีที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2552
วันอังคารที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2552
จงตอบคำถามลงในช่องว่างของแต่ละข้อให้ได้ความสมบูรณ์และถูกต้อง
1.การรับรู้ หมายถึงอะไร
ตอบ...กระบวนการแปลหรือตีความต่อสิ่งเร้าข่าวสารที่ผ่านอวัยวะรับสัมผัสเข้าไปยังสมองในรูปของไฟฟ้าและเคมี
2.อวัยวะรับสัมผัสมี 5 ทาง คือ ตา หู จมูก ลิ้น และ กาย
3.องค์ประกอบของกระบวนการรับรู้มี 3 ประการ ได้แก่
...- อาการรับสัมผัส
...- อาการแปลความหมายของอาการสัมผัส
...-ประสบการณ์เดิม
4.ธรรมชาติของการรับรู้มีอะไรบ้าง...
- การเลือกที่จะรับรู้...
- การจัดหมวดหมู่ของสิ่งเร้าอย่างมีแบบแผน...
- ความต่อเนื่อง...- ความสมบูรณ์
5.สิ่งต่างๆที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ ได้แก่...
- สิ่งเร้าภายนอก...
- สิ่งเร้าภายใน...
- คุณลักษณะของสิ่งเร้า
6.การเรียนรู้ หมายถึงอะไร...
- การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ที่ก่อนข้างถาวร และพฤติกรรมนี้เป็นผลจากประสบการณ์หรือการฝึกฝนมิใช่การตอบสนองจากธรรมชาติ วุฒิภาวะ หรือความบังเอิญ เป็นต้น
7.จงเขียนแผนภูมิการแบ่งกลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้ให้ถูกต้อง
.....ทฤษฎีการเรียนรู้
1.กลุ่มทฤษฎีสร้างความสัมพันธ์ต่อเนื่อง
1.1ทฤษฎีการเรียนรู้แบบเชื่อมโยง
1.2ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข
1.2.1)การเรียนรู้แบบคลาสิค
1.2.2)การเรียนรุ้แบบจงใจกระทำ
2.กลุ่มทฤษฎีความรู้ความเข้าใจ
2.1Gestalt T..2.2Field T.
8.บลูม จำแนกพฤติกรรมการเรียนรู้ออกเป็น 3 หมวด ได้แก่
- พุทธพิสัย
- จิตพิสัย
- ทักษะพิสัย
9.สภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้มี 4 ประการ คือ
- เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม
- ป้อนข้อมูลย้อนกลับทันที
- จัดประสบการณ์ที่เป็นผลสำเร็จ
- การประมาณการที่ละน้อย
10.จงเขียนแผนภูมิกระบวนการเรียนรู้ตามแนวพุทธศาสตร์ให้ถูกต้อง
...การรับรู้ตามแนวพุทธศาสตร์-->1.อวัยวะรับสัมผัส}............................................................การรับสัมผัส การรับรู้ ความรู้สึก ความจำ ความคิด.......................................2.สิ่งเร้าภายนอก}
1.การรับรู้ หมายถึงอะไร
ตอบ...กระบวนการแปลหรือตีความต่อสิ่งเร้าข่าวสารที่ผ่านอวัยวะรับสัมผัสเข้าไปยังสมองในรูปของไฟฟ้าและเคมี
2.อวัยวะรับสัมผัสมี 5 ทาง คือ ตา หู จมูก ลิ้น และ กาย
3.องค์ประกอบของกระบวนการรับรู้มี 3 ประการ ได้แก่
...- อาการรับสัมผัส
...- อาการแปลความหมายของอาการสัมผัส
...-ประสบการณ์เดิม
4.ธรรมชาติของการรับรู้มีอะไรบ้าง...
- การเลือกที่จะรับรู้...
- การจัดหมวดหมู่ของสิ่งเร้าอย่างมีแบบแผน...
- ความต่อเนื่อง...- ความสมบูรณ์
5.สิ่งต่างๆที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ ได้แก่...
- สิ่งเร้าภายนอก...
- สิ่งเร้าภายใน...
- คุณลักษณะของสิ่งเร้า
6.การเรียนรู้ หมายถึงอะไร...
- การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ที่ก่อนข้างถาวร และพฤติกรรมนี้เป็นผลจากประสบการณ์หรือการฝึกฝนมิใช่การตอบสนองจากธรรมชาติ วุฒิภาวะ หรือความบังเอิญ เป็นต้น
7.จงเขียนแผนภูมิการแบ่งกลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้ให้ถูกต้อง
.....ทฤษฎีการเรียนรู้
1.กลุ่มทฤษฎีสร้างความสัมพันธ์ต่อเนื่อง
1.1ทฤษฎีการเรียนรู้แบบเชื่อมโยง
1.2ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข
1.2.1)การเรียนรู้แบบคลาสิค
1.2.2)การเรียนรุ้แบบจงใจกระทำ
2.กลุ่มทฤษฎีความรู้ความเข้าใจ
2.1Gestalt T..2.2Field T.
8.บลูม จำแนกพฤติกรรมการเรียนรู้ออกเป็น 3 หมวด ได้แก่
- พุทธพิสัย
- จิตพิสัย
- ทักษะพิสัย
9.สภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้มี 4 ประการ คือ
- เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม
- ป้อนข้อมูลย้อนกลับทันที
- จัดประสบการณ์ที่เป็นผลสำเร็จ
- การประมาณการที่ละน้อย
10.จงเขียนแผนภูมิกระบวนการเรียนรู้ตามแนวพุทธศาสตร์ให้ถูกต้อง
...การรับรู้ตามแนวพุทธศาสตร์-->1.อวัยวะรับสัมผัส}............................................................การรับสัมผัส การรับรู้ ความรู้สึก ความจำ ความคิด.......................................2.สิ่งเร้าภายนอก}
คำถามท้ายบทเรื่องสื่อการสอน
1.จงบอกความหมายของสื่อการสอนให้ถูกต้อง
ตอบ...สื่อการสอนหมายถึงวัสดุ อุปกรณ์ หรือวิธีการใดๆก็ตามที่เป็นตัวกลางหรือพาหนะในการถ่ายทอดความรู้ ทัศนคติ ทักษะและประสบการณ์ไปสู่ผู้เรียน
2.จงอธิบายความสำคัญของสื่อการสอนให้ชัดเจน
ตอบ...เป็นองค์ประกอบยิ่งอย่างหนึ่งของการศึกษาหรือการเรียนการสอน ทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น
3.จงบอกถึงคุณสมบัติของสื่อการสอนมาอย่างน้อย 3 ข้อ
ตอบ 1)สามารถจัดยึดประสบการณ์ กิจกรรม และการกระทำต่างๆได้
2)สามารถจัดแจง ปรับปรุง ประสบการณ์ต่างๆได้
3)สามารถแจกจ่ายและขยายข่าวสารออกเป็นหลายๆฉบับเพื่อเผยแพร่สู่คนจำนวนมาก
4.จงบอกถึงคุณค่าของสื่อการสอนมาอย่างน้อย 5 ข้อ
ตอบ 1)เป็นศูนย์รวมความสนใจของผู้เรียน
2)ทำให้บทเรียนเป็นที่น่าสนใจ
3)ช่วยให้ผู้เรียนมีประสบการณ์กว้างขวาง
4)แสดงสิ่งที่ลี้ลับให้เข้าใจง่าย
5)ทำให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ร่วมกัน
5.จงยกตัวอย่างคุณค่าของสื่อการสอนในด้านวิชาการ ด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ และด้านเศรษฐกิจศึกษา อย่างน้อยด้านละ 1 ตัวอย่าง
ตอบ 1)ด้านวิชาการàทำให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรง
2)ด้านจิตวิทยาการเรียนรู้àทำให้เกิดความคิดรวบยอดเป็นอย่างเดียวกัน
3)ด้านเศรษฐกิจการศึกษาàช่วยให้ผู้ที่เรียนได้ช้าเรียนด้ายเร็วและมากขึ้น
6.จงจำแนกประเภทของสื่อให้ถูกต้องและชัดเจน
ตอบ...จำแนกประเภทของสื่อได้ดังนี้.
1)จำแนกตามคุณสมบัติ
2)จำแนกตามแบบ
3)จำแนกตามประสบการณ์
7.จงบอกหลักการใช้สื่อการสอนให้ถูกต้องชัดเจน
ตอบ...ควรดำเนินตามขั้นตอนดังนี้
1)ขั้นการเลือก (Selection)
2)ขั้นเตรียม (Preparation)
3)ขั้นการใช้หรือการแสดง (Presentation).
4)ขั้นติดตามผล (Follow up)
8.จงอธิบายข้อดีและข้อจำกัดของสื่อการสอนให้ถูกต้องอย่างน้อย 2 ชนิด
ตอบ...1)หนังสือ สมุดคู่มือ เอกสารอื่นๆ
-ข้อดีคือ เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ดีที่สุดสำหรับบางคนได้แก่การอ่าน
-ข้อจำกัดคือต้นทุนการผลิตสูง
...2)ตัวอย่างของจริง
-ข้อดีคือแสดงภาพตามความเป็นจริง
-ข้อจำกัดคือจัดหาลำบาก
1.จงบอกความหมายของสื่อการสอนให้ถูกต้อง
ตอบ...สื่อการสอนหมายถึงวัสดุ อุปกรณ์ หรือวิธีการใดๆก็ตามที่เป็นตัวกลางหรือพาหนะในการถ่ายทอดความรู้ ทัศนคติ ทักษะและประสบการณ์ไปสู่ผู้เรียน
2.จงอธิบายความสำคัญของสื่อการสอนให้ชัดเจน
ตอบ...เป็นองค์ประกอบยิ่งอย่างหนึ่งของการศึกษาหรือการเรียนการสอน ทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น
3.จงบอกถึงคุณสมบัติของสื่อการสอนมาอย่างน้อย 3 ข้อ
ตอบ 1)สามารถจัดยึดประสบการณ์ กิจกรรม และการกระทำต่างๆได้
2)สามารถจัดแจง ปรับปรุง ประสบการณ์ต่างๆได้
3)สามารถแจกจ่ายและขยายข่าวสารออกเป็นหลายๆฉบับเพื่อเผยแพร่สู่คนจำนวนมาก
4.จงบอกถึงคุณค่าของสื่อการสอนมาอย่างน้อย 5 ข้อ
ตอบ 1)เป็นศูนย์รวมความสนใจของผู้เรียน
2)ทำให้บทเรียนเป็นที่น่าสนใจ
3)ช่วยให้ผู้เรียนมีประสบการณ์กว้างขวาง
4)แสดงสิ่งที่ลี้ลับให้เข้าใจง่าย
5)ทำให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ร่วมกัน
5.จงยกตัวอย่างคุณค่าของสื่อการสอนในด้านวิชาการ ด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ และด้านเศรษฐกิจศึกษา อย่างน้อยด้านละ 1 ตัวอย่าง
ตอบ 1)ด้านวิชาการàทำให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรง
2)ด้านจิตวิทยาการเรียนรู้àทำให้เกิดความคิดรวบยอดเป็นอย่างเดียวกัน
3)ด้านเศรษฐกิจการศึกษาàช่วยให้ผู้ที่เรียนได้ช้าเรียนด้ายเร็วและมากขึ้น
6.จงจำแนกประเภทของสื่อให้ถูกต้องและชัดเจน
ตอบ...จำแนกประเภทของสื่อได้ดังนี้.
1)จำแนกตามคุณสมบัติ
2)จำแนกตามแบบ
3)จำแนกตามประสบการณ์
7.จงบอกหลักการใช้สื่อการสอนให้ถูกต้องชัดเจน
ตอบ...ควรดำเนินตามขั้นตอนดังนี้
1)ขั้นการเลือก (Selection)
2)ขั้นเตรียม (Preparation)
3)ขั้นการใช้หรือการแสดง (Presentation).
4)ขั้นติดตามผล (Follow up)
8.จงอธิบายข้อดีและข้อจำกัดของสื่อการสอนให้ถูกต้องอย่างน้อย 2 ชนิด
ตอบ...1)หนังสือ สมุดคู่มือ เอกสารอื่นๆ
-ข้อดีคือ เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ดีที่สุดสำหรับบางคนได้แก่การอ่าน
-ข้อจำกัดคือต้นทุนการผลิตสูง
...2)ตัวอย่างของจริง
-ข้อดีคือแสดงภาพตามความเป็นจริง
-ข้อจำกัดคือจัดหาลำบาก
จงเติมคำลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้สมบูรณ์และถูกต้อง
1.คำว่า Communis แปลว่า คล้ายคลึง หรือร่วมกัน
2.การสื่อความหมาย หมายถึง กระบวนการสั่งหรือถ่ายทอดความรู้ เนื้อหา สาระ ความรู้สึกต่างๆ ตลอดจนประสบการณ์จากฝ่ายหนึ่ง(ผู้ส่งสาร)สู่อีกฝ่ายหนึ่ง(ผู้รับสาร)
3.Sender Message Channel Reciever
4.สาร หมายถึง เนื้อหาสาระ ความรู้สึก ทัศนคติ ทักษะประสบการณ์ที่มีอยู่ในตัวผู้ส่งหรือแหล่งกำเนิด
5.Elemnts หมายถึง องค์ประกอบย่อยๆ พื้นฐานที่จำเป็นต้องมี ตัวอย่างเช่น สระ พยัญชนะ หรือสีแดงสีเหลือง เส้น เป็นต้น
6.Structure หมายถึง โครงสร้างที่นำองค์ประกอบย่อยมารวมกัน ตัวอย่างเช่น คำ ประโยค หรือ สีของรูปร่าง รูปทรง
7.Content หมายถึง ข้อมูลที่เป็นความรู้สึกนึกคิด ความต้องการของผู้ส่ง ตัวอย่างเช่น ข้อมูลเกี่ยวกับอะไร สอดคล้องเหมาะสมกับอะไร
8.Treatment หมายถึง กลุ่มสัญลักษณ์ที่ถูกนำมาจัดแทนความรู้สึกนึกคิด ความต้องการ ตัวอย่างเช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ดนตรี ภาพวาด กริยาท่าทาง
9.Code หมายถึง วิธีการเลือก การจัดรหัสและเนื้อหาให้อยู่ที่ถ่ายทอดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น
10.อุปสรรคหรือสิ่งรบกวนภายนอก เช่น เสียงดังรบกวน อากาศร้อน แสงแดด
11.อุปสรรคหรือสิ่งรบกวนภายใน เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล อาการเจ็บป่วย
12.Encode หมายถึง การแปลความต้องการของคนเป็นสัญลักษณ์หรือสัญญาณต่างๆได้
13.Decode หมายถึง การเลือกสื่อและช่องทางที่ไม่เหมาะสม
14.จงอธิบายการสื่อความหมายในการเรียนการสอนมาให้ครบถ้วนและถูกต้อง กระบวนการเรียนการสอนเป็นกระบวนการสื่อความหมายอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งมีองค์ประกอบดัง นี้ ครู เนื้อหา หลักสูตร สื่อหรือช่องทาง นักเรียน
15. จงอธิบายถึงความล้มเหลวของการสื่อความหมายในการเรียนการสอน
1.ครูผู้สอนไม่บอกวัตถุประสงค์ให้กับผู้เรียน
2.ผู้สอนไม่คำนึงถึงความสามารถของผู้เรียน
3.ผู้สอนไม่สร้างความพร้อมให้กับผู้เรียน
4.ผู้สอนใช้คำยากทำให้ผู้เรียนไม่เข้าใจ
5.ผู้สอนนำเสนอเนื้อหาวกวน 6.ผู้สอนใช้สื่อไม่เหมาะสม
1.คำว่า Communis แปลว่า คล้ายคลึง หรือร่วมกัน
2.การสื่อความหมาย หมายถึง กระบวนการสั่งหรือถ่ายทอดความรู้ เนื้อหา สาระ ความรู้สึกต่างๆ ตลอดจนประสบการณ์จากฝ่ายหนึ่ง(ผู้ส่งสาร)สู่อีกฝ่ายหนึ่ง(ผู้รับสาร)
3.Sender Message Channel Reciever
4.สาร หมายถึง เนื้อหาสาระ ความรู้สึก ทัศนคติ ทักษะประสบการณ์ที่มีอยู่ในตัวผู้ส่งหรือแหล่งกำเนิด
5.Elemnts หมายถึง องค์ประกอบย่อยๆ พื้นฐานที่จำเป็นต้องมี ตัวอย่างเช่น สระ พยัญชนะ หรือสีแดงสีเหลือง เส้น เป็นต้น
6.Structure หมายถึง โครงสร้างที่นำองค์ประกอบย่อยมารวมกัน ตัวอย่างเช่น คำ ประโยค หรือ สีของรูปร่าง รูปทรง
7.Content หมายถึง ข้อมูลที่เป็นความรู้สึกนึกคิด ความต้องการของผู้ส่ง ตัวอย่างเช่น ข้อมูลเกี่ยวกับอะไร สอดคล้องเหมาะสมกับอะไร
8.Treatment หมายถึง กลุ่มสัญลักษณ์ที่ถูกนำมาจัดแทนความรู้สึกนึกคิด ความต้องการ ตัวอย่างเช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ดนตรี ภาพวาด กริยาท่าทาง
9.Code หมายถึง วิธีการเลือก การจัดรหัสและเนื้อหาให้อยู่ที่ถ่ายทอดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น
10.อุปสรรคหรือสิ่งรบกวนภายนอก เช่น เสียงดังรบกวน อากาศร้อน แสงแดด
11.อุปสรรคหรือสิ่งรบกวนภายใน เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล อาการเจ็บป่วย
12.Encode หมายถึง การแปลความต้องการของคนเป็นสัญลักษณ์หรือสัญญาณต่างๆได้
13.Decode หมายถึง การเลือกสื่อและช่องทางที่ไม่เหมาะสม
14.จงอธิบายการสื่อความหมายในการเรียนการสอนมาให้ครบถ้วนและถูกต้อง กระบวนการเรียนการสอนเป็นกระบวนการสื่อความหมายอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งมีองค์ประกอบดัง นี้ ครู เนื้อหา หลักสูตร สื่อหรือช่องทาง นักเรียน
15. จงอธิบายถึงความล้มเหลวของการสื่อความหมายในการเรียนการสอน
1.ครูผู้สอนไม่บอกวัตถุประสงค์ให้กับผู้เรียน
2.ผู้สอนไม่คำนึงถึงความสามารถของผู้เรียน
3.ผู้สอนไม่สร้างความพร้อมให้กับผู้เรียน
4.ผู้สอนใช้คำยากทำให้ผู้เรียนไม่เข้าใจ
5.ผู้สอนนำเสนอเนื้อหาวกวน 6.ผู้สอนใช้สื่อไม่เหมาะสม
วันพุธที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2552
ตอบคำถามท้ายบทที่1
1.ความหมายของเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา-เทคโนโลยี หมายถึง ระบบการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดมี 3 หลักการ
1.ต้องเป็นระบบ
2.บรรลุเป้าหมาย
3.ต้องประหยัดทรัพยากร-นวัตกรรม หมายถึง การคิดการกระทำใหม่ๆที่ดำเนินการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
2.ตัวอย่างของเทคโนโลยีและนวัตกรรมในสาขาต่างๆ
-เทคโนโลยีทางการทหาร
-เทคโนโลยีทางการแพทย์
-เทคโนโลยีทางการเกษตร
-เทคโนโลยีทางการสื่อสาร
-เทคโนโลยีทางการค้า
3.อธิบายความหมายของเทคโนโลยีทางการศึกษาตามทัศนะทางวิทยาศาสตร์ กายภาพและทัศนะทางพฤติกรรมศาสตร์
-มี 4 กระบวนการ คือ
1.การตั้งจุดมุ่งหมายทางการศึกษาต้องเน้นพฤติกรรมที่วัดและเห็นผล
2.ต้องวิเคราะห์ผู้เรียนในแง่ของความสำเร็จ ความพร้อมและอื่นๆเพื่อจัดการสอนให้เหมาะสม
3.การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
4.การวัดและประเมิณผล
4.ความหมายของการศึกษาตามความเข้าใจในระดับต่างๆ
-บุคคลธรรมดาสามัญ คือการศึกษาแบบอบรมฝึกฝน
-บุคคลในวิชาชีพทางการศึกษา
-บุคคลที่เป็นนักการศึกษา
5.เทคโนโลยีการศึกษามี 3ระดับ ได้แก่
-ระดับอุปกรณ์การสอน เครื่องมือที่ช่วยสอน เช่นโทรทัศน์ แผ่นใส
-ระดับวิธีการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีแทนการสอนของครูด้วยตัวเอง
-ระดับการจัดระบบการศึกษา
6.อธิบายข้อแตกต่างและความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
-ข้อแตกต่าง คือ เทคโนโลยีประกอบด้วย
1.ความหมายของเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา-เทคโนโลยี หมายถึง ระบบการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดมี 3 หลักการ
1.ต้องเป็นระบบ
2.บรรลุเป้าหมาย
3.ต้องประหยัดทรัพยากร-นวัตกรรม หมายถึง การคิดการกระทำใหม่ๆที่ดำเนินการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
2.ตัวอย่างของเทคโนโลยีและนวัตกรรมในสาขาต่างๆ
-เทคโนโลยีทางการทหาร
-เทคโนโลยีทางการแพทย์
-เทคโนโลยีทางการเกษตร
-เทคโนโลยีทางการสื่อสาร
-เทคโนโลยีทางการค้า
3.อธิบายความหมายของเทคโนโลยีทางการศึกษาตามทัศนะทางวิทยาศาสตร์ กายภาพและทัศนะทางพฤติกรรมศาสตร์
-มี 4 กระบวนการ คือ
1.การตั้งจุดมุ่งหมายทางการศึกษาต้องเน้นพฤติกรรมที่วัดและเห็นผล
2.ต้องวิเคราะห์ผู้เรียนในแง่ของความสำเร็จ ความพร้อมและอื่นๆเพื่อจัดการสอนให้เหมาะสม
3.การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
4.การวัดและประเมิณผล
4.ความหมายของการศึกษาตามความเข้าใจในระดับต่างๆ
-บุคคลธรรมดาสามัญ คือการศึกษาแบบอบรมฝึกฝน
-บุคคลในวิชาชีพทางการศึกษา
-บุคคลที่เป็นนักการศึกษา
5.เทคโนโลยีการศึกษามี 3ระดับ ได้แก่
-ระดับอุปกรณ์การสอน เครื่องมือที่ช่วยสอน เช่นโทรทัศน์ แผ่นใส
-ระดับวิธีการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีแทนการสอนของครูด้วยตัวเอง
-ระดับการจัดระบบการศึกษา
6.อธิบายข้อแตกต่างและความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
-ข้อแตกต่าง คือ เทคโนโลยีประกอบด้วย
1.ข้อมูลที่ใส่เข้าไป
2.กระบวนการ
3.มีผลลัพธ์
-ส่วนนวัตกรรมมี3ขั้น คือ
-ส่วนนวัตกรรมมี3ขั้น คือ
1.การประดิษฐ์คิดค้น
2.การพัฒนา
3.การปฎิบัติจริง
7.ขั้นตอนการเกิดนวัตกรรม มี 3ขั้น คือ
- ขั้นการประดิษฐ์
- ขั้นการพัฒนา
- ขั้นการนำไปใช้หรือปฎิบัติจริง
8.บอกบทบาทของเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษากับจัดการเรียนการสอน
-ช่วยให้ผู้เรียนเรียนได้กว้างขวางขึ้น
-สามารถสนองเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลได้
-จัดการเรียนการสอนได้ดีขึ้น
-มีบทบาทสำคัญที่ช่วยพัฒนาสื่อการสอน
-ช่วยเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
9.ตัวอย่างนวัตกรรมทางการศึกษาในปัจจุบัน 3ชนิด
-การเขียนแบบโปรแกรม
-ชุดการสอน
-เครื่องช่วยสอน
10.สาเหตุของการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ทางการศึกษา
-การเพิ่มจำนวนของประชากร
-การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
-ความก้าวหน้าทางวิทยาการใหม่ๆ
11.อธิบายแนวคิดในการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมกับการศึกษาไทย 3 ข้อ
-คนไทยส่วนใหญ่ไม่ถือตัว คือขาดความเชื่อมั่นในตัวเองไม่กล้าที่จะตอบคำถามกับครู เป็นต้น
-การไม่เห็นคุณค้าของสิ่งแวคล้อม
-การขาดลักษณะอันพึงประสงค์
12.ตัวอย่างและแนวทางในการแก้ไขของการขาดลักษณะอันไม่พึงประสงค์ของคนไทย มี3ประการ
-กล้าและรู้จักแสดงความคิดเห็น
-รู้จัดตัดสินใจในตัวเอง
-มีความรับผิดชอบ
7.ขั้นตอนการเกิดนวัตกรรม มี 3ขั้น คือ
- ขั้นการประดิษฐ์
- ขั้นการพัฒนา
- ขั้นการนำไปใช้หรือปฎิบัติจริง
8.บอกบทบาทของเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษากับจัดการเรียนการสอน
-ช่วยให้ผู้เรียนเรียนได้กว้างขวางขึ้น
-สามารถสนองเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลได้
-จัดการเรียนการสอนได้ดีขึ้น
-มีบทบาทสำคัญที่ช่วยพัฒนาสื่อการสอน
-ช่วยเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
9.ตัวอย่างนวัตกรรมทางการศึกษาในปัจจุบัน 3ชนิด
-การเขียนแบบโปรแกรม
-ชุดการสอน
-เครื่องช่วยสอน
10.สาเหตุของการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ทางการศึกษา
-การเพิ่มจำนวนของประชากร
-การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
-ความก้าวหน้าทางวิทยาการใหม่ๆ
11.อธิบายแนวคิดในการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมกับการศึกษาไทย 3 ข้อ
-คนไทยส่วนใหญ่ไม่ถือตัว คือขาดความเชื่อมั่นในตัวเองไม่กล้าที่จะตอบคำถามกับครู เป็นต้น
-การไม่เห็นคุณค้าของสิ่งแวคล้อม
-การขาดลักษณะอันพึงประสงค์
12.ตัวอย่างและแนวทางในการแก้ไขของการขาดลักษณะอันไม่พึงประสงค์ของคนไทย มี3ประการ
-กล้าและรู้จักแสดงความคิดเห็น
-รู้จัดตัดสินใจในตัวเอง
-มีความรับผิดชอบ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)